ทนายความจังหวัดฉะเชิงเทรา

ทนายความจังหวัดฉะเชิงเทรา

เมนู

รู้จักจังหวัดฉะเชิงเทรา

ตราประจำจังหวัดฉะเชิงเทรา

ตราประจำจังหวัดฉะเชิงเทรา

คำขวัญประจำจังหวัดฉะเชิงเทรา

แม่น้ำบางปะกงแหล่งชีวิต พระศักดิ์สิทธิ์หลวงพ่อโสธร พระยาศรีสุนทรปราชญ์ภาษาไทย อ่างฤาไนป่าสมบูรณ์  

ประวัติจังหวัดฉะเชิงเทรา

พ.ศ. 1000 มีชุมชนบ้านเมืองโบราณบริเวณสองฝั่งคลองลำน้ำท่าลาด หรือคลองท่าลาด ที่ไหลผ่านอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา หลายแห่งตั้งแต่บ้านเกาะขนุน ถึงบ้านท่าเกวียน ฯลฯ หลังพ.ศ. 1500 ฉะเชิงเทราและดินแดนใกล้เคียงคือ เมืองมโหสถ (อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี) กับเมืองพระรถ (อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี) ต่างรุ่งเรืองขึ้นจากการค้าโลก และมีความเกี่ยวข้องเป็นเครือญาติกับกษัตริย์ขอมทั้งเมืองละโว้ (ลพบุรี) และเมืองพระนคร (กัมพูชา) จนหลังหลัง พ.ศ. 1700 บริเวณลุ่มน้ำบางปะกง ตั้งแต่เขตฉะเชิงเทราถึงปราจีนบุรีกลายเป็นป่าดง เนื่องจากเป็นที่ดอนมากขึ้นจากทับถมของตะกอนปากแม่น้ำ ส่งผลให้เส้นทางคมนาคมออกอ่าวไทยไม่ค่อยสะดวกเช่นเดิม จนหลัง พ.ศ. 2000 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 โปรดให้ซ่อมแปลงคลองสำโรง ซึ่งเชื่อมแม่น้ำบางปะกง กับแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อให้สะดวกในการคมนาคม

ในสมัยรัชกาลที่ 3 หลังปี พ.ศ. 2369 ทรงยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์ ได้มีการกวาดต้อนครัวลาวพวกหนึ่งมาอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง เกิดเมืองใหม่ชื่อ เมืองฉะเชิงเทรา แต่ปากชาวบ้านเรียกชื่อเดิมที่มีมาก่อนว่า เมืองแปดริ้ว (ปัจจุบันคือ อำเภอบางคล้า) มีการสร้างป้อมเมืองฉะเชิงเทราเพื่อป้องกันศึกญวนและเขมรที่มาทางแม่น้ำบางปะกง และอ่าวไทย ราวปี พ.ศ. 2377 ต่อมา พ.ศ. 2381 ให้อพยพครอบครัวเจ้าองค์ด้วง แห่งกัมพูชา เข้ากรุงเทพฯ ส่วนบ่าวไพร่ทั้งหลายให้อยู่เมืองฉะเชิงเทรา (บริเวณ ชุมชนวัดดอนทอง ปากคลองบางตีนเป็ด ตรงข้ามอำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา)

ในสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดให้ยกบ้านท่าถ่านเป็นเมืองพนมสารคาม (อำเภอพนมสารคาม) และต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ปี พ.ศ. 2459 โปรดให้เมืองฉะเชิงเทรากับเมืองพนมสารคาม รวมกันสถาปนาเป็น จังหวัดฉะเชิงเทรา

ภูมิศาสตร์

  ภูมิประเทศของจังหวัดฉะเชิงเทราแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนตะวันตกของจังหวัดตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำบางปะกง ส่วนตะวันออกมีลักษณะเป็นเนินเขา ด้วยความสูงจากระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ยกว่า 100 เมตร จังหวัดฉะเชิงเทรามีเกาะจำนวน 1 เกาะ คือ เกาะกลาง ที่บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง

เขตการปกครอง

ที่ว่าการอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ถนนเรืองวุฒิ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000

โทรศัพท์ : 0-3851-1029,0-38511-185,0-3851-1186

โทรสาร: 0-3851-1029

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอคลองเขื่อน เลขที่ 115/3 หมู่ที่ 2 ตำบลคลองเขื่อน อำเภอคลองเขื่อน จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000

โทรศัพท์ : 0-3850-9222

โทรสาร: 0-3850-9222

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอท่าตะเกียบ เลขที่ 179 หมู่ที่ 4 ตำบลท่าตะเกียบ อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา 24160

โทรศัพท์ : 0-3850-8245-6

โทรสาร: 0-3850-8245

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอบางคล้า 45 ถ.เทศบาลพัฒนา 1 ตำบลบางคล้า อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา 24110

โทรศัพท์ : 0-3854-1131, 0-3882-5240

โทรสาร: 0-3882-5240,0-3854-1558

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอบางน้ำเปรี้ยว หมู่ที่ 2 ตำบลบางน้ำเปรี้ยว อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา 24150

โทรศัพท์ : 038-581094

โทรสาร: 038-581094

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอบางปะกง หมู่ที่ 6 ตำบลท่าสะอ้าน อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24130

โทรศัพท์ : 0-3853-2400

โทรสาร: 0-3853-2400

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอแปลงยาว ถนนฉะเชิงเทรา-สัตหีบ ตำบลวังเย็น อำเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา 24190

โทรศัพท์ : 0-3858-9001

โทรสาร: 0-3858-9241

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอพนมสารคาม 513 ม.1 ต.พนมสารคาม อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา 24120

โทรศัพท์ : 0-3855-2333 , 0-3883-6927

โทรสาร: 0-3855-2333

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอราชสาส์น เลขที่ 87 หมู่ที่ 2 ถนนราชสาส์น-พนมสารคาม ตำบลบางคา อำเภอราชสาส์น จังหวัดฉะเชิงเทรา 24120

โทรศัพท์ : 0-3859-1090

โทรสาร: 0-3859-1077

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

 

ที่ว่าการอำเภอสนามชัยเขต หมู่ที่ 4 ตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา 24160

โทรศัพท์ : 0-3859-7008

โทรสาร: 0-3859-7125

อีเมล:

สายตรงศูนย์ดำรงธรรม 1567

X